เหลียวหลังแลหน้า...ปฏิรูปการศึกษาขั้นพื้นฐาน: รวมบทความปฏิรูปการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พิทักษ์ โสตถยาคม
ด้วยความมุ่งมั่นตั้งใจของท่านประธาน
กพฐ.(ดร.สุรัฐ ศิลปอนันต์) และเลขาธิการ กพฐ. (ดร.กมล รอดคล้าย)
ในการผลักดันการปฏิรูปการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ประกอบกับพลังของความหวังและความพร้อมที่จะร่วมมือรวมพลังของผู้มีส่วนร่วมทุกภาคส่วน
น่าจะทำให้การปฏิรูปการศึกษาขั้นพื้นฐานที่เราพยายามอยู่...พอจะมองเห็นแสงสว่างที่ปลายอุโมงค์
เจตจำนงของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องที่ต้องการเห็นการเปลี่ยนแปลง แสดงให้เห็นชัดเจนจากบทความข้อคิด ที่กลั่นมาจากประสบการณ์ตรง ทั้ง 64 บทความ เป็นบทความที่ผู้เขียนตั้งใจเขียน ในเวลาที่มีจำกัดเพียง 3-4 วัน หรือเลือกสรรบทความเชิงสร้างสรรค์ ที่คิดว่าจะเป็นประโยชน์ต่อคณะอนุกรรมการการปฏิรูปการศึกษาขั้นพื้นฐาน และผู้กำหนดนโยบายการศึกษาชาติ ในการนำไปพิจารณา วางนโยบายการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้ดีขึ้นกว่าที่ผ่านๆ มา
ในนามของ สพฐ. ผมขอขอบคุณผู้เขียนบทความทั้ง 64 บทความ ที่ให้ความอนุเคราะห์ สละเวลาช่วยเขียนข้อคิดข้อเสนอแนะต่อการปฏิรูปการศึกษาขั้นพื้นฐาน แม้จะมีข้อจำกัดเรื่องเวลา แต่ทุกท่านก็ให้ความกรุณาด้วยความเต็มใจ
กระบวนการดำเนินงานเพื่อให้ได้บทความทั้งหมดนี้
เริ่มต้นขึ้นในวันที่ 15 มกราคม 2558 ท่านประธาน กพฐ. (ดร.สุรัฐ ศิลปอนันต์) ประสงค์จะรวมเอกสารความรู้เพื่อให้ผู้เข้าประชุมเสวนาปฏิรูปการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในวันที่ 29 มกราคม 2558 ได้ศึกษา ทำความเข้าใจ และต่อยอดความคิดจากองค์ความรู้ ประสบการณ์
และบทเรียนจากสิ่งที่มีอยู่เดิม และมอบหมายให้ผมประสานผู้ทรงคุณวุฒิ/
ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ส่งบทความมาสนับสนุนกระบวนการปฏิรูปการศึกษาขั้นพื้นฐาน
และเร่งดำเนินการรวมเล่มในเวลาอันจำกัด
ซึ่งทำให้เอกสารเล่มนี้ไม่สามารถตรวจสอบความถูกต้องได้อย่างที่ใจต้องการ
อาจมีคลาดเคลื่อนไปจากต้นฉบับของผู้ทรงคุณวุฒิไปบ้าง ต้องขออภัยมา ณ โอกาสนี้ หากผู้อ่านพบข้อบกพร่องที่ต้องแก้ไข ขอได้โปรดแจ้งให้ผมทราบด้วย จักขอบคุณเป็นอย่างยิ่ง
ระหว่างรวบรวมบทความจากผู้ทรงคุณวุฒิ/ เกี่ยวข้อง ก็ดำเนินการขออนุมัติจัดจ้างพิมพ์เอกสารคู่ขนานกันไป ซึ่งกำหนดความหนาของเอกสารไว้ 300 หน้า แต่ปรากฏว่า มีบทความทยอยส่งเข้ามาเรือยๆ และมากกว่าจำนวนหน้าที่ประมาณการไว้ ดังนั้น จึงพิมพ์ได้เพียงบทความลำดับที่ 1-47 ยังเหลืออีก 17 บทความที่ยังไม่ได้จัดพิมพ์ (บทความลำดับที่ 48-64) ซึ่งทุกบทความล้วนมีคุณค่า ที่ให้ข้อคิด และมุมมองที่เป็นประโยชน์ยิ่งต่อการพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงขอนำมาเสนอไว้ ณ ที่นี้ เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้สำหรับผู้นำ นักปฏิรูป และผู้ใส่ใจในการพัฒนาการศึกษาเพื่ออนาคตของชาติ...
แผนภาพ หนังสือเชิญผู้ทรงคุณวุฒิและผู้สนใจส่งบทความ
สำหรับส่วนหน้าของเอกสาร ประกอบด้วย ปกใน คำปรารภของประธาน กพฐ. สารบัญ รายนามผู้เขียนบทความ รวม 15 หน้า โปรดคลิกที่นี่ >>> http://goo.gl/V7naQS
ที่
|
ผู้เขียนบทความ
|
ชื่อบทความ
|
หน้าที่
|
Link บทความฉบับเต็ม
|
1
|
รศ.ดร.สุธรรม วาณิชเสนี
ประธานกรรมการ SVI Initiatives
อาจารย์ประจำคณะวิศวกรรมศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (พ.ศ.2514-2549)
|
เหลียวหลัง แลหน้า มองหาอนาคต –
ปัจจัยและเงื่อนไขความสำเร็จการจัดการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
|
1-23
|
|
2
|
ดร.สุรัฐ ศิลปอนันต์
ประธาน กพฐ. และประธานคณะอนุกรรมการปฏิรูปการศึกษาขั้นพื้นฐาน
|
ฟินแลนด์ปฏิรูปการศึกษาจนเป็นเลิศที่สุดในโลก
|
24-48
|
|
3
|
ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
นายกสภามหาวิทยาลัยมหิดล
ผู้อำนวยการคนแรกของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
(สกว.)
(พ.ศ.2536-2544)
|
ปฏิรูปการศึกษาขั้นพื้นฐาน
|
49-54
|
|
4
|
นพ.ธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป์
ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจำกระทรวงศึกษาธิการ
|
องค์ประกอบของระบบการศึกษาของประเทศที่ประสบความสำเร็จ
|
55-56
|
|
5
|
ศ.ดร.อุทุมพร จามรมาน
ที่ปรึกษาผู้ตรวจการแผ่นดิน
|
ข้อเสนอ
เรื่อง การปฏิรูปการศึกษาชาติทั้งระบบ
|
57-59
|
|
6
|
รศ.ดร.เกียรติวรรณ อมาตยกุล
และรัชนี อมาตยกุล
ผู้บริหารโรงเรียนอมาตยกุล
|
4 ประเด็น
เพื่อการปฏิรูปการศึกษา
|
60-65
|
|
7
|
รศ.ดร.สุธีระ ประเสริฐสรรพ์
อาจารย์คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
|
แนวปฏิบัติเพื่อปฏิรูปการศึกษาขั้นพื้นฐาน: ข้อเรียนรู้จากประสบการณ์
|
66-71
|
|
8
|
ศ.ดร.สุมาลี ตั้งประดับกุล
อาจารย์ภาควิชาชีวเคมี
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
|
การปฏิรูปการศึกษาไทย
พุทธศักราช ๒๕๕๘
|
72-74
|
|
9
|
ดร.ชินภัทร ภูมิรัตน
เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
(พ.ศ.2552-2556)
|
แนวคิดการปฏิรูปการศึกษา
|
75-76
|
|
10
|
นพ.ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์
เลขาธิการมูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์
|
ปฏิรูปการศึกษาอย่างไรดี
|
77-78
|
|
11
|
รศ.ดร.พิมพันธ์ เดชะคุปต์
ผู้เชี่ยวชาญด้านหลักสูตรและการสอน
คณะครุศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
|
ครู TPCK : ครูเก่งของไทย
|
79-81
|
|
12
|
อนันต์ ระงับทุกข์
หัวหน้าผู้ตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ
|
ปฏิรูปการศึกษา:
ปฏิรูปการเรียน ปรับเปลี่ยนการสอบ
|
82-84
|
|
13
|
ชัชวาลย์ ทองดีเลิศ
เลขาธิการสมาคมสภาการศึกษาทางเลือกไทย
|
ข้อเสนอการปฏิรูปการศึกษาต่อ
สพฐ.
|
85-88
|
|
14
|
นพ.ยงยุทธ วงศ์ภิรมย์ศานติ์
หัวหน้ากลุ่มที่ปรึกษากรมสุขภาพจิต
|
ระบบการศึกษาในระดับจังหวัด
|
89-94
|
|
15
|
เพชร เหมือนพันธุ์
อดีตผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาชัยภูมิ
เขต 3 และ เขต 1
|
ปฏิรูปการศึกษา
ตามไปดู ผู้สำเร็จ 5 ต้นแบบ
|
95-98
|
|
16
|
รศ.ดร.วิชัย วงษ์ใหญ่
อาจารย์บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
|
การเรียนรู้ยุคใหม่
|
99-104
|
|
17
|
ศ.ดร.ไพฑูรย์ สินลารัตน์
ประธานกรรมการคุรุสภา
|
ปฏิรูปการเรียนรู้: ปฏิรูปการศึกษากลับทางจากล่างขึ้นบน
|
105-132
|
|
18
|
ผศ.ดร.ประโยชน์
คุปต์กาญจนากุล
อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี
|
วิกฤติและโอกาสเพื่อการปฏิรูปการศึกษาไทย
|
133-138
|
|
19
|
ดร.จุฬากรณ์ มาเสถียรวงศ์
ผู้อำนวยการสถาบันรามจิตติ
|
กระแสการพัฒนาครูมืออาชีพยุคใหม่ (Teacher Professional
Development):
ทิศทางและนวัตกรรมการติดอาวุธทางปัญญาและทักษะสำคัญของครูอนาคต
|
139-144
|
|
20
|
สมหมาย ปาริจฉัตต์
รองประธานกรรมการ
บมจ.มติชน และกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
|
ปฏิรูปการศึกษายุค
คสช.
|
145-147
|
|
21
|
รศ.วิทยากร เชียงกูล
คณบดีกิตติคุณ
วิทยาลัยนวัตกรรมสังคม มหาวิทยาลัยรังสิต
|
จะปฏิรูปการศึกษาไทยให้ได้ผลจริง
ๆ ได้อย่างไร
|
148-165
|
|
22
|
รศ.ดร.นาตยา ปิลันธนานนท์
ผู้ทรงคุณวุฒิพิเศษ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
นายกสมาคมหลักสูตรและการสอนแห่งประเทศไทย
|
ปฏิรูปการศึกษาต้องกล้าเปลี่ยนจริง
|
166-169
|
|
23
|
สันติ จิตระจินดา
ผู้อำนวยการทางศิลปะ สถาบันศิลปวัฒนธรรมเพื่อการพัฒนา
(มายา)
|
การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง
|
170-174
|
|
24
|
Dr.Prawit Erawan
Associate Professor, Facullty of Education, Mahasarakham
University
|
Teachers' Professional Development and
Reform: Transforming Conceptions of Professional learning to Practices
|
175-186
|
|
25
|
ดร.พิษณุ ตุลสุข
รองเลขาธิการสภาการศึกษา
|
ครูคือบุคคลที่สำคัญที่สุด
|
187-189
|
|
26
|
รศ.วรรณี โสมประยูร
อดีตอาจารย์มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
(มศว)
|
การปฏิรูปการศึกษาที่ถูกทิศทางและตรงประเด็น
|
190-191
|
|
27
|
วิเชียร ไชยบัง
ครูใหญ่โรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา
|
ไปให้ถึง “ปัญญา”
|
192-194
|
|
28
|
รศ.ดร.ชนิตา รักษ์พลเมือง
คณบดีคณะครุศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (พ.ศ.2555-2557)
|
แนวทางการส่งเสริมวิชาชีพครูเพื่อแก้ปัญหาการขาดแคลนครู
|
195-216
|
|
29
|
ดร.กมล สุดประเสริฐ
คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
ด้านศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม
อนุกรรมการเฉพาะกิจในคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ด้านวิจัยและนวัตกรรม
|
การปรับปรุงสถานศึกษาที่ได้ผลดีมีประสิทธิภาพ
|
217-218
|
|
30
|
ชาตรี สำราญ
ครูต้นแบบ ปี 2541 วิชาภาษาไทย
ระดับประถมศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ (สกศ.) สํานักนายกรัฐมนตรี
|
แนวคิดการปฏิรูปการศึกษาแบบติดดิน
|
219-220
|
|
31
|
ผศ.สนั่น มีขันหมาก
อาจารย์คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
|
ปฏิรูป สพฐ.
|
221-223
|
|
32
|
รศ.ดร.ดุษฎี โยเหลา
ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์
|
การเรียนรู้ของครู
เพื่อการเป็นครูมืออาชีพ
|
224-226
|
|
33
|
ดร.อ่องจิต เมธยะประภาส
รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
(พ.ศ.2556-2557)
|
การปฏิรูปการศึกษา
|
227-228
|
|
34
|
ดร.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
ผู้อำนวยการโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย
|
1
เสียงเพื่อการปฏิรูปการศึกษา
|
229-231
|
|
35
|
ทองสุข รวยสูงเนิน
ประธานคณะกรรมการปฏิรูปการเรียนรู้จังหวัดสุรินทร์
|
แนวคิด หลักการ
เพื่อการปฏิรูปการศึกษา:
มุมมองจากประสบการณ์ภาคสนาม
|
232-233
|
|
36
|
พจมาน พงษ์ไพบูลย์
อดีตที่ปรึกษาสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
|
ปฏิรูปการศึกษาเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
|
234-236
|
|
37
|
บริษัท
ปิโก (ไทยแลนด์) จำกัด (มหาชน)
|
คัมภีร์การบริหารจัดการโรงเรียนเพื่อเด็กทุกคน
บทเรียนจากโรงเรียนสาธิตปทุมวันในอดีต วิเคราะห์เนื้อหาและถอดความจาก "รายงานการสอนซ่อมเสริมสำหรับเด็กที่เรียนช้า" โดย รศ. คุณหญิงสมจิตต์
ศรีธัญรัตน์
|
237-252
|
|
38
|
ผศ.ดร.ปิยดา สมบัติวัฒนา
อาจารย์ภาควิชาบริหารธุรกิจ
คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
|
การศึกษาไทย: ประเด็นที่ควรพิจารณา
|
253-256
|
|
39
|
รศ.ดร.ดุษฎี โยเหลา
ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์
|
การเรียนรู้ของนักเรียน
เพื่อพัฒนาทักษะศตวรรษที่ 21
|
257-260
|
|
40
|
รศ.ดร.วรรณี แกมเกตุ
หัวหน้าภาควิชาวิจัยและจิตวิทยาการศึกษา
คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
|
ข้อเสนอแนะต่อการปฏิรูปการศึกษาขั้นพื้นฐาน: การปฏิรูปการอ่านและการเขียนภาษาไทย
|
261-264
|
|
41
|
ศ.ดร.สุชาติ โสมประยูร
ปูชนียาจารย์
สาขาวิชาสุขศึกษา
|
โปรแกรมสุขภาพในโรงเรียนกับวิกฤตการณ์โปรแกรมสุขภาพ
|
265-267
|
|
42
|
บริษัท
ปิโก (ไทยแลนด์) จำกัด (มหาชน)
|
ความรับผิดชอบต่อสังคม
การร่วมพัฒนาชุมชนและสังคม ปิโกและแนวคิดการสร้างคุณค่าร่วมกับสังคม (Creating Shared Value
: CSV)
|
268-276
|
|
43
|
สมหญิง สายธนู
ผู้จัดการมูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์
|
PBL คือ
ส่วนย่อชีวิตของนักเรียน: ทางรอดหรือทางเลือก
|
277-280
|
|
44
|
ชัดเจน ไทยแท้
อดีตศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
|
ปฏิรูปการศึกษา: จิ๊กซอว์
ที่รอการต่อ
|
281-282
|
|
45
|
ศุภวัจน์ พรมตัน
ครูโรงเรียนนครวิทยาคม
อ.พาน จ.เชียงราย สพม.เขต 36
|
ความสุขที่หายไป
|
283-286
|
|
46
|
สุกัญญา สุวรรณรัตน์
ครูโรงเรียนวัดโรงเหล็ก
อ.นบพิตำ จ.นครศรีธรรมราช
สพป.นครศรีธรรมราช เขต 4
|
เสียงสะท้อนจากความคิดและจิตวิญญาณของความเป็นครู
|
287-288
|
|
47
|
ประสงค์ สกุลซ้ง
ครูโรงเรียนบ้านแกวิทยาคม
อ.ยางตลาด จ.กาฬสินธุ์ สพป.กาฬสินธุ์
เขต 2
|
ความจริงจากโรงเรียนขยายโอกาสในชนบท
|
289-290
|
|
48
|
สิริกร โตสติ
นักวิเคราะห์นโยบายและแผน สพป. ตราด
|
ข้อเสนอ มุมมอง
การปฏิรูปการศึกษาขั้นพื้นฐาน
|
291-292
|
|
49
|
สมชัย แซ่เจีย
ศึกษานิเทศก์
สพป.เชียงใหม่ เขต 4
|
การปฏิรูปการศึกษาที่น่าสำเร็จ
|
293-296
|
|
50
|
มานิต
สิทธิศร
ศึกษานิเทศก์
สพป.ศรีสะเกษ เขต 4
|
ประสบการณ์การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ในบทบาทของศึกษานิเทศก์
|
297-302
|
|
51
|
กัมพล
เจริญรักษ์
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านท่งุยาวคำโปรย
สพป.ศรีสะเกษ เขต 4
|
การพัฒนาโรงเรียนสุขภาวะ: โรงเรียนแห่งความสุข
|
303-308
|
|
52
|
วิฑูรย์ มาแก้ว
ครูโรงเรียนอนุบาลเวียงกาหลง
อ.เวียงป่าเป้า จ.เชียงราย สพป.เชียงราย เขต 2
|
แนวคิด
ประสบการณ์ เพื่อสานต่อการปฏิรูปการศึกษาไทย
|
309-311
|
|
53
|
ชวิศ หนูแก้ว
ครูโรงเรียนอนุราชประสิทธิ์ อ.เมืองนนทบุรี
จ.นนทบุรี สพป.นนทบุรี เขต 1
|
คุณครูสับสนคนไทยแย่
|
312-314
|
|
54
|
ราณี กุยรัมย์
ครูโรงเรียนบ้านโคกเบง
อ.บ้านกรวด จ. บุรีรัมย์ สพป.บุรีรัมย์ เขต 2
|
จากห้องเล่าเรียนสู่ห้องเรียนรู้...สู่การปฏิรูปการศึกษา
|
315-317
|
|
55
|
ประพันธ์ จิรจรัสตระกูล
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านม่วงพี่น้อง
อ.สันป่าตอง จ.เชียงใหม่ สพป.เชียงใหม่
เขต 4
|
แนวทางการปฏิรูปการศึกษาไทย
|
318-319
|
|
56
|
ประคอง
พิไรแสงจันทร์
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านดงป่าหวาย
อ.ดอยหล่อ จ.เชียงใหม่ สพป.เชียงใหม่ เขต 4
|
มุมหนึ่งของการศึกษาไทย
|
320-323
|
|
57
|
พิชัย อุ่นแสง
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านป่าตาล อ.หางดง จ.เชียงใหม่ สพป.เชียงใหม่
เขต 4
|
แนวทางปฏิรูปการศึกษา
|
324-325
|
|
58
|
นิคม หน่อเต็ม
ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดน้ำบ่อหลวง
อ.สันป่าตอง จ.เชียงใหม่ สพป.เชียงใหม่ เขต 4
|
แนวทางการปฏิรูปการเรียนรู้
|
326-327
|
|
59
|
วินัย ไพยารมณ์
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านไร่
อ.หางดง จ.เชียงใหม่ สพป.เชียงใหม่ เขต 4
|
3
ประเด็นปฏิรูป
|
328
|
|
60
|
วิภพ จันทรา
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านดง อ.หางดง จ.เชียงใหม่
สพป.เชียงใหม่ เขต 4
|
ปฏิรูปเพื่อคุณภาพและความสุขของผู้เรียน
|
329
|
|
61
|
เอนก ตาเจริญเมือง
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านสันผักหวาน
อ.หางดง จ.เชียงใหม่ สพป.เชียงใหม่ เขต 4
|
ข้อเสนอปฏิรูปการศึกษา
|
330
|
|
62
|
ศ.ศรีราชา เจริญพานิช
ผู้ตรวจการแผ่นดิน
|
แนวทางการแก้วิกฤตการศึกษาไทย
2553
|
331-336
|
|
63
|
ศ.ศรีราชา วงศารยางค์กูร
ผู้ตรวจการแผ่นดิน
|
ร่างบทบัญญัติเกี่ยวกับการปฏิรูปการศึกษาในรัฐธรรมนูญ
(ฉบับใหม่)
|
337-351
|
|
64
|
ผศ.ดร.ประโยชน์
คุปต์กาญจนากุล
อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี
|
แนวทางการปฏิรูปการศึกษา
|
352-355
|