หน้าเว็บ

วันอังคารที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2558

เสียงสะท้อนจากพื้นที่: ก่อนเริ่มโครงการ Reform Lab

สรุปข้อเสนอจากวงสัมมนากลุ่มผู้นำของ สพท. และโรงเรียน
ในโครงการปฏิรูปการเรียนรู้สู่ผู้เรียน
พิทักษ์ โสตถยาคม

สรุปข้อเสนอจากวงสัมมนากลุ่มผู้นำของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและโรงเรียน จำนวน 6 จุดสัมมนานี้ ผมได้จัดทำให้ผู้บริหารสำนักนำเสนอในที่ประชุมคณะทำงานติดตามนโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการเมื่อวันจันทร์ที่ 12 มกราคม 2558 ซึ่งจุดสัมมนาแต่ละจุดจะมีบุคลากร สพท. เข้าร่วม 3-4 เขต เขตละ 20 คน (เป็น ผอ.สพท. 1 คน ผอ.โรงเรียน 15 คน และคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการฯ ของเขต 4 คน) หลังจากสิ้นสุดการสัมมนา ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาที่เข้าร่วมประชุมจุดนั้นๆ ได้นำข้อมูลที่ได้รับรู้มาระหว่างการประชุม มาหารือร่วมกัน และทำบันทึกข้อความถึงที่ปรึกษา รมว.ศธ. (รศ.ประภาภัทร นิยม) เพื่อสรุปผลการประชุมให้ทราบและนำเสนอข้อเสนอแนะเพื่อคุณภาพผู้เรียน โดยเปลี่ยนแปลงการบริหารจัดการงานต่างๆ อาทิ งานวิชาการ บุคคล งบประมาณ และบริหารทั่วไป จุดละ 1 ฉบับ ดังนั้น แต่ละจุดจะมีข้อเสนอข้อย่อยๆ เหมือนกันบ้าง ต่างกันบ้าง ซึ่งเครื่องหมายถูก (P) ที่เห็นถือได้ว่าเป็นมติของแต่ละจุดที่มีการเสนอความคิดมา สำหรับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาที่เข้าร่วมประชุมแต่ละจุด ดังนี้
                        จุดที่ 1 สพป.ภูเก็ต สพป.สตูล สพป.สุราษฎร์ธานี เขต 1
จุดที่ 2 สพป.พระนครศรีอยุธยา เขต 1 สพป.ลพบุรี เขต 2 สพม. เขต 5
จุดที่ 3 สพป.เชียงราย เขต 1 สพป.น่าน เขต 1 สพป.ลำปาง เขต 3 สพป.นครสวรรค์ เขต 3
จุดที่ 4 สพป.ขอนแก่น เขต 1 สพป.อำนาจเจริญ สพม. เขต 22
จุดที่ 5 สพป.อุบลราชธานี เขต 3 สพป.ศรีสะเกษ เขต 4 สพม. เขต 28
จุดที่ 6 สพป.ระยอง เขต 2 สพป.นครราชสีมา เขต 1 สพป.ตราด

ข้อเสนอจากจุดสัมมนา เป็นดังนี้
ด้าน
รายการ
จุดที่ 1
จุดที่ 2
จุดที่ 3
จุดที่ 4
จุดที่ 5
จุดที่ 6
รวม
งบประมาณ
ดึงงบอาหารเสริม(นม) จาก อปท.มาให้ ร.ร.จัดการเอง (รวมทั้งงบอาหารกลางวัน)


P
P
P
P
4

เพิ่มงบอุดหนุนให้เพียงพอต่อการจัดการเรียนรู้ (แยกค่าสาธารณูปโภคออกจากงบอุดหนุน)
P


P
P

3

จัดสรรลงถึง ร.ร. แบบ Block Grant [ระบุงบ 3 ส่วน (1) งบพื้นฐาน (2) งบรายหัว (3) งบพิเศษสำหรับ ร.ร. ที่ยากต่อการบริหารจัดการ เช่น พื้นที่พิเศษ]


P
P
P

3

มีระบบติดตามประเมินและเร่งรัดการเบิกจ่าย (ระบบตรวจสอบ/ ระบบรายงานการใช้งบประมาณของ ร.ร. ) เขตกำกับติดตามให้ตรงเป้าหมายที่วางไว้
P

P

P

3

จัดสรรทั่วถึงตามความต้องการแท้จริงของ ร.ร. / ตามความขาดแคลนจริง
P

P
2

จัดสรรให้เขตนำร่องแบบ Block Grant

P

P


2

จัดสรรงบเรียนฟรี 15 ปี ให้ ร.ร.เป็นงบรวม แล้วให้ ร.ร.บริหารจัดการตามภาระงานเอง





P
1

จัดงบประมาณแบบ Block Grant ทุกระดับ (จังหวัด เขต  ร.ร.)


P



1

เพิ่มสัดส่วนจัดสรรให้เขตนำร่องเป็น 15 ล้านบาท/ปี (ภายในมี.ค.58) เป็นงบดำเนินงาน 70% งบอุดหนุน 30% เพื่อจ้างครู ซ่อมแซมอาคาร ซื้อวัสดุครุภัณฑ์ และได้รับต่อเนื่อง 3 ปี

P




1

มีระเบียบเอื้อให้ ร.ร. บริหารคล่องตัว
P





1

มีระบบอำนวยความสะดวกจัดซื้อจัดจ้าง
P





1

ให้อำนาจ ร.ร. ระดมทรัพยากรได้ โดยให้มีระบบบัญชีที่โปร่งใสตรวจสอบได้


P



1
บุคคล: สรรหา
จัดให้มีเจ้าหน้าที่ธุรการครบทุก ร.ร. / เพียงพอกับภาระงานของ ร.ร. (ครูได้สอนเต็มที่)

P

P
P
P
4

เร่งรัดคืนอัตราเกษียณให้ครบภายในเดือนตุลาคม/ ก่อนเปิดเทอมเดือน พ.ย.ของทุกปี

P
P
P
3

มีครูและบุคลากรเพียงพอ (บุคลากรสายปฏิบัติการสอน)
P
P
2

จัดให้มีบุคลากรสายสนับสนุน (งานธุรการ บัญชี พัสดุ) และให้มีความก้าวหน้าในอาชีพ


P


P
2

จัดให้มีนักการภารโรงครบทุก ร.ร.

P



P
2

บรรจุและแต่งตั้งพนักงานราชการ ครูอัตราจ้างที่มีประสบการณ์ 4 ปีขึ้นไปเป็นครูผู้ช่วย



P


1

มีศึกษานิเทศก์เพียงพอ
P





1

มีระบบบรรจุครูสอดคล้องภูมิลำเนา
P





1

ควรสรรหา คัดเลือกบุคคลที่อยู่ในชุมชนและผลักดันให้มาเป็นครูในท้องถิ่นของตนเอง





P
1

กระจายครูไปทั่ว ไม่ให้กระจุกตัวแต่ในเขตเมือง
P





1

ร.ร. มีอำนาจบรรจุ-แต่งตั้งครูโดยตรง


P



1

การดำเนินการบริหารงานบุคคลทั้งเขต/จังหวัดควรทำอย่างรวดเร็ว


P



1

ควรยกเว้นใบประกอบวิชาชีพครูในสาขาที่ขาดแคลนและจำเป็นของ ร.ร. ที่จัดมัธยมศึกษา



P


1
การผลิต/ พัฒนา
ควรมีสถาบันผลิตครูโดยเฉพาะ (วิทยาลัยครู) มีกระบวนการพัฒนาครูอย่างเข้มข้น



P
P
P
3

สถาบันผลิตครูควรมีการวางแผนและประสานความร่วมมือกับเขตพื้นที่และ ร.ร. ในการผลิตและพัฒนาครูให้ตรงกับสาขาวิชาที่ท้องถิ่นต้องการ (และควรเพิ่มวิชาเอกการประถมศึกษาและการศึกษาปฐมวัย)



P
P
P
3

สถาบันผลิตครู (และหน่วยงานผู้ใช้ครู) ต้องมีบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบในการติดตามและพัฒนาครูอย่างต่อเนื่อง



P
P
P
3

คัดคนเก่งมาเป็นครู มีระบบคัดสรรจากการวัดแววความถนัดในการเป็นครู เพื่อคัดคนดี เก่ง และมีใจมาเป็นครูเข้าสู่สถาบันการผลิตครู


P

P
P
3

สถาบันผลิตครูมีหลักสูตรเข้มข้นทันสมัยสร้างจิตวิญญาณความเป็นครู และสอดคล้องกับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21


P



1

ควรมีระบบการส่งเสริมความมุ่งมั่นในการเรียนรู้ของครูที่เรียนวิชาเอกใดเอกหนึ่งต่อเนื่อง นับตั้งแต่ปริญญาตรีเป็นต้นไป ถ้าเรียนต่อตรงวิชาเอกปรับวุฒิและเงินเดือน แต่ถ้าไม่ตรงวิชาเอกจะไม่ปรับเงินเดือน





P
1

อาจารย์มหาวิทยาลัยสอนวิชาชีพครูควรมีประสบการณ์การสอนใน ร.ร. หรือเชิญผู้สอนที่มีประสบการณ์มาร่วมทีมสอน


P



1

มีสถาบันเตรียมการเป็นครูตั้งแต่ ม.4 โดยให้ทุน 1 ตำบล 1 ครู มีค่าตอบแทนตั้งแต่เข้าสถาบัน ได้รับการบรรจุเป็นครูเมื่อจบการศึกษา


P



1

ผู้ที่จะเป็นครูทุกสาขาจะต้องผ่านการอบรมหลักสูตรความเป็นครู (+ครูอาชีวะ ครู กศน.)


P



1

มีคุณภาพดี/ เป็นครูมืออาชีพ/ มีจิตวิญญาณความเป็นครู
P
1

ควรมีการส่งเสริมครูดีครูเก่งอย่างรอบด้าน





P
1

ครูให้ความสำคัญของการวิจัยและนวัตกรรม
P





1

กระจายอำนาจการบริหารและพัฒนาครูและบุคลากรจากส่วนกลาง
P





1

วางแผนพัฒนาครูอย่างเป็นระบบ
P





1

มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
P





1

พัฒนาบุคลากรแบบแผนพัฒนารายบุคคล ในลักษณะ on the job training, on demand (โดยไม่ทิ้งชั้นเรียน) มีการกำหนดงบรายหัวต่อปีจัดสรรตรงมายัง ร.ร.  


P



1

สถาบันพัฒนาครูมีหลักสูตรต่างๆให้ ร.ร. สามารถเลือกเข้ารับการพัฒนาได้


P



1

มีระบบการแลกเปลี่ยนประสบการณ์จากการสอน
P





1

ควรมีหน่วยงานเฉพาะระดับจังหวัดเพื่อส่งเสริมพัฒนาและแก้ปัญหาผู้บริหารให้มีภาวะผู้นำทางวิชาการ ให้สามารถบริหาร ร.ร. ได้อย่างมีคุณภาพ



P


1
การบริหาร/การใช้
ปรับหลักเกณฑ์วิทยฐานะให้เน้นพิจารณา/ประเมินจากการปฏิบัติงานจริงและคุณภาพที่เกิดขึ้นกับผู้เรียนอย่างแท้จริง (ไม่ใช้เอกสาร) และไม่ให้นำผลการประกวดแข่งขันต่างๆ ไปผูกโยงกับวิทยฐานะ และการย้าย


P
P
P

3

ใช้ประโยชน์ศึกษานิเทศก์อย่างเต็มขีดความสามารถ/ ให้มีส่วนร่วมในการนิเทศครูผู้ช่วย
P




P
2

ผู้บริหารเป็นแบบอย่าง มุ่งมั่นพัฒนา และส่งเสริมการมีส่วนร่วม
P





1

ลดภาระงานครูด้วยจัดเจ้าหน้าที่ธุรการและนักการภารโรง

P




1

ลดภาระงานครูด้วยการลดขอข้อมูล/ ขอความร่วมมือร่วมกิจกรรมจาก ร.ร.และเขตนำร่อง

P




1

ให้ตั้ง อ.ก.ค.ศ. สพฐ. เป็นผู้ดำเนินการแทน ก.ค.ศ.




P

1

ให้ตั้ง ผอ.สพท.เป็นผู้แต่งตั้งองค์คณะบุคคลแทน อ.ก.ค.ศ. เป็นคราวๆ ไป เช่น การช่วยราชการ การเกลี่ยอัตรากำลังจาก ร.ร.เกินเกณฑ์ไป ร.ร.ขาดเกณฑ์




P

1

การบริหารงานบุคคลให้มี อ.ก.ค.ศ.เพียงคณะเดียวในระดับจังหวัดหรือเขต (ยุบ กพท., อ.ก.ค.ศ., ก.ต.ป.น.) แต่ให้เป็นอนุกรรมการแต่ละเรื่อง


P



1

ควรมีการประเมินผลการปฏิบัติงานของครูเป็นระยะๆ เพื่อให้ครูพัฒนาตนเอง รักษาคุณภาพไว้อย่างต่อเนื่อง และนำผลไปใช้ในการต่อใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ




P

1

ขยายโควตา 2 ขั้น จากร้อยละ 15 เป็นร้อยละ 30




P

1
หลักสูตร การสอน
กระบวนการจัดการเรียนรู้เน้นให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติจริง เน้นให้ทำโครงงานและภาคปฏิบัติ ทำกิจกรรมเพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาผู้เรียน เน้นให้ผู้เรียนรู้จักตนเอง




P
P
2

ควรปรับมาตรฐานและตัวชี้วัดหลักสูตรแกนกลางให้น้อยลง ไม่ซ้ำซ้อน และชัดเจนขึ้น


P

P

2

ปรับหลักสูตรให้เหมาะสมในแต่ละระดับชั้นและช่วงอายุ โดยประถมศึกษาเป็นหลักสูตรบูรณาการ ส่วนมัธยมศึกษาเป็นหลักสูตรแบบรายวิชาและเพิ่มทักษะวิชาชีพ



P
P

2

หลักสูตรสอดคล้องความต้องการของพื้นที่
P
1

หลักสูตรที่บูรณาการสาระการเรียนรู้
P





1

หลักสูตรที่ส่งเสริมคุณธรรมคู่ความรู้
P





1

หลักสูตรและการสอนเน้นกระบวนการคิด
P





1

หลักสูตรหลากหลายตอบสนองความต้องการของผู้เรียน
P





1

ปลดล็อกการปรับตัวชี้วัดในหลักสูตรแกนกลางฯ โดยยึดมาตรฐานเป็นหลัก แล้วให้ ร.ร.ปรับลดตัวชี้วัดที่ซ้ำซ้อนกันหรือมีพฤติกรรมเป้าหมายเดียวกัน เพื่อลดภาระที่เกี่ยวข้องกับการประเมินตัวชี้วัดเหล่านั้นลง





P
1

ชั้น ป.1-2 ลดจำนวนตัวชี้วัดในวิชาอื่นๆ ลง เน้นตัวชี้วัดในกลุ่มสาระที่พัฒนาการอ่านรู้เรื่อง การคิดคำนวณ และการใช้เหตุผล ส่วนชั้น ป.3-4 เน้นเช่นเดียวกับ ป.1-2 แต่เพิ่มกลุ่มสาระที่สร้างประสบการณ์ชีวิตให้มากขึ้น ส่วน ป.5-6 เน้นตัวชี้วัดใน 8 กลุ่มสาระ





P
1

ให้อำนาจ ร.ร. และเขตในการปรับหลักสูตรให้ยืดหยุ่นเหมาะกับบริบท แต่ยังคงได้มาตรฐานและตัวชี้วัดตามหลักสูตร

P




1

ให้อำนาจ ร.ร. ในการบริหารจัดการหลักสูตรด้วยตนเอง (แกนกลาง ท้องถิ่น สถานศึกษา)


P



1

มีกรอบสาระท้องถิ่น/จังหวัดเพื่อใช้ในการทำหลักสูตรสถานศึกษา


P



1

การสอนที่สามารถดึงศักยภาพและความถนัดของผู้เรียนออกมาได้
P





1

การสอนที่มีรูปแบบที่น่าสนใจและดึงดูด
P





1

การสอนที่มุ่งให้เกิดการเรียนรู้มากกว่าการทำคะแนนให้ดี
P





1

จัดการอาชีวศึกษาสอดคล้องกับความต้องการของพื้นที่
P





1

ส่วนกลางช่วยส่งเสริมสำหรับเขตที่มีความต้องการ เช่น มี workshop พิเศษให้ความรู้ในการสอนแบบบูรณาการ (หลักสูตร การจัดการเรียนรู้ และการประเมิน)


P



1

ครูสอนตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตรฯ ไม่ใช่สอนตามหนังสือแบบเรียน


P



1

ควรมีหน่วยงานรับผิดชอบด้านหลักสูตร การวัดและประเมินผลเป็นการเฉพาะ



P


1

กำหนดสัดส่วนนักเรียนต่อห้องเรียนที่เหมาะสม โดยระดับปฐมวัย ไม่เกิน 20 คน ประถมศึกษาไม่เกิน 25 คน และมัธยมศึกษาไม่เกิน 40 คน




P

1
การประเมิน/ประกันคุณภาพ
การประกันคุณภาพของ ร.ร.นำร่องเน้นระบบการประกันคุณภาพภายใน (ไม่มีการประกันคุณภาพภายนอก) ควรยุบ สมศ. โดยให้คณะบุคคลต่างเขตพื้นที่การศึกษาทำหน้าที่แทน

P

P
P

3

สมศ. ควรปรับปรุงบทบาทเป็นส่งเสริมการประเมินเพื่อการพัฒนาการเรียนรู้ เน้นเชิงประจักษ์ (ตัวผู้เรียน) ไม่ให้เป็นภาระของ ร.ร. และลดวันในการประเมินไม่ควรเกิน 2 วัน



P

P
2

การประเมินคุณภาพที่น่าเชื่อถือและนำผลการประเมินไปใช้ประโยชน์ เช่น ใช้ในการประเมินผลงานของผู้เกี่ยวข้อง (ผอ.เขต, รอง ผอ.เขต, ผอ.ร.ร., ศน., ครู) ทั้งบวกและลบ
P




P
2

การประเมินควรเน้นเพื่อการพัฒนาผู้เรียนและลดการประเมินเพื่อการตัดสินคุณภาพ



P

P
2

ควรมีการตรวจสอบกระบวนการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา และควรให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมด้วย





P
1

การประเมินคุณภาพที่มีความเป็นมาตรฐานและสอดคล้องกับบริบท
P





1

กระบวนการประเมินคุณภาพที่แนบเนียนและไม่เพิ่มภาระ
P





1

การทดสอบที่กระตุ้นความกระตือรือร้น และสร้างคุณค่าการเรียนรู้
P





1

การประเมินผลที่สะท้อนความดีและคุณธรรม
P





1

ให้มีกลไกการตรวจสอบการวัดผลเพื่อการพัฒนาการเรียนการสอน และการวัดผลเพื่อการตัดสินผลการเรียนของสถานศึกษา





P
1

ประเมินนักเรียนตามสภาพจริงด้วยวิธีการที่หลากหลาย ต่อเนื่อง และหลายฝ่ายมีส่วนร่วม




P

1

การวัดและประเมินผลคำนึงถึงพัฒนาการของผู้เรียน โดยคำนึงถึงความแตกต่างของผู้เรียน และให้ครอบคลุมพุทธิพิสัย จิตพิสัย และทักษะพิสัย หากนักเรียนไม่ผ่านการประเมินควรให้นักเรียนเรียนซ้ำชั้น




P

1

ปรับหลักฐาน เอกสารการวัดและประเมินผลให้เหมาะสม




P

1

มีระบบคัดกรองจำแนกกลุ่มเด็กเพื่อการพัฒนา
P





1

สทศ.ควรประเมินการทดสอบเฉพาะในกลุ่มสาระการเรียนรู้หลัก



P


1

ให้ยุบ สทศ. โดยให้สำนักทดสอบทางการศึกษา สพฐ. ทำหน้าที่แทน โดยสุ่มทดสอบนักเรียน และหากจะทดสอบนักเรียนทุกคนควรจะทำทุก 3 ปีต่อครั้ง




P

1
สื่อการเรียนรู้
มีหนังสือและตำราเรียนที่น่าสนใจทั้งรูปแบบและเนื้อหาสาระ
P





1

มีเครื่องมือช่วยการเรียนการสอนที่ทันสมัยและเหมาะต่อการเรียนรู้
P





1

ให้ส่วนกลางจัดทำคู่มือครู และแผนการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรฯ ครบทุกกลุ่มสาระ




P

1
บริหารทั่วไป
ควรสร้างความเข้มแข็งให้คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในการบริหารงาน 4 ด้าน



P
P

2

ให้มีระเบียบเกี่ยวกับคณะกรรมการสถานศึกษาที่ชัดเจน เกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ การมีส่วนร่วมในการตรวจสอบประเมินการทำงานของ ร.ร. และผู้บริหาร ร.ร.  การสรรหา รวมทั้งมีค่าตอบแทนและสวัสดิการที่ชัดเจน


P



1
มีสภาพแวดล้อมของ ร.ร. เอื้อต่อการเรียนรู้
P
1

 ร.ร. มีความปลอดภัยและมีมาตรฐานความปลอดภัยที่ดี
P





1

ส่งเสริมให้เกิดความเข้าใจอันดีระหว่างเขตและ ร.ร.
P





1

ให้มีระเบียบรองรับการจัดตั้งกลุ่ม ร.ร.


P



1

ให้มีกฎหมายลดหย่อนภาษีจูงใจให้บุคคล/ ภาคี/ หน่วยงานให้การสนับสนุนการศึกษา


P



1

มีกฎระเบียบการมีส่วนร่วมของพหุเครือข่าย การใช้คลังสมองภูมิปัญญาท้องถิ่น ปราชญ์ชาวบ้าน เครือข่ายผู้ปกครอง เครือข่ายวิชาชีพในการสนับสนุน ร.ร.


P



1
การมีส่วนร่วม
เปิดโอกาส/ ส่งเสริมทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในระบบการจัดการศึกษาอย่างแท้จริง
P

P



2

ควรจัดให้มีสภาการศึกษาจังหวัดเป็นองค์กรอิสระ มีโครงสร้างที่ชัดเจน ประกอบด้วยคณะกรรมการจากทุกภาคส่วน มีหน้าที่จัดทำแผน ส่งเสริม สนับสนุน และประสานความร่วมมือกับหน่วยงาน/ องค์กรทุกภาคส่วนในการพัฒนาการจัดการศึกษาของจังหวัด



P
P

2

ให้ อปท.สามารถจัดสรรงบประมาณอุดหนุนการศึกษาได้โดยไม่มีเงื่อนไข โดยเฉพาะเรื่องสิ่งก่อสร้าง หรือสนับสนุนภารกิจการจัดการศึกษาเป็นอันดับแรก

P


P

2

มีกฎหมายระบุให้ อปท. สนับสนุนการศึกษาอย่างชัดเจนมีสัดส่วนร้อยละ 15-20 ของงบประมาณประจำปีของท้องถิ่น และสนับสนุนภาคเอกชนไปช่วย ร.ร. ต่างๆ


P


P
2

ควรปรับปรุงบทบาทและโครงสร้างของคุรุสภาและ สก.สค. ให้เป็นองค์กรที่ให้การสนับสนุนมาตรฐานและสวัสดิการครูและบุคลากรทางการศึกษาอย่างแท้จริง



P
P

2
มีทัศนคติที่ถูกต้องเกี่ยวกับการลงโทษเด็กใน ร.ร.
P
1

ไม่ตั้งความหวังการเรียนไว้สูงเกินจนกลายเป็นความกดดัน
P
1

ปลูกฝังความรับผิดชอบ วินัย และทักษะชีวิต
P





1

คัดกรองปัจจัยแวดล้อมด้านลบ
P





1

เฝ้าระวังและตักเตือนให้เด็กมีพฤติกรรมที่พึงประสงค์
P





1

ร่วมมือกับ ร.ร. เพิ่มมากขึ้น
P





1

สร้างค่านิยมการเรียนรู้ ไม่หวังพึ่งกวดวิชา
P





1

ระยะยาวควรมีการจัดตั้งสภาการศึกษาระดับจังหวัดและเขตพื้นที่


P



1

กำหนดแนวทางหรือนโยบายให้มีการบูรณาการการจัดการศึกษาจากทุกภาคส่วนภายในท้องถิ่น โดยกำหนดขอบข่าย แนวทาง เป้าหมาย และการใช้ทรัพยากรอย่างเป็นรูปธรรม เพื่อลดความซ้ำซ้อนของหน่วยงานต่างๆ ที่มุ่งใช้ดรงเรียนเป็นฐานโดยไม่มีการวางแผน





P
1

ควรกำหนดสัดส่วนที่ชัดเจนในการคืนเงินภาษีจาก อปท. ให้กับเขตพื้นที่และ ร.ร.  เพื่อใช้ในการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาในรูปแบบภาษีการศึกษา (Education Tax)



P


1

องค์กรที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับการประกอบวิชาชีพครูต้องมีบทบาทในการออกหรือต่ออายุใบประกอบวิชาชีพครูอย่างเข้มข้นเพื่อควบคุมคุณภาพครู



P


1
กระจายอำนาจ: นิติบุคคล
ปรับแก้กฎหมายให้ ร.ร. เป็นนิติบุคคลอย่างแท้จริงและสมบูรณ์แบบ มีอำนาจในการบริหารจัดการงานทั้ง 4 ด้าน ทั้งด้านบุคคล งบประมาณ วิชาการ และบริหารทั่วไป ภายใต้การกำกับติดตามของคณะกรรมการสถานศึกษา



P
P

2

 ร.ร. นิติบุคคลสามารถบริหารบุคลากรทั้งระบบด้วยตนเอง (สรรหา บรรจุ แต่งตั้ง พัฒนา โยกย้าย วินัย อุทธรณ์ ร้องทุกข์ พิจารณาความดีความชอบครู)


P

P

2

ให้เขตพื้นที่เป็นนิติบุคคลอย่างแท้จริงและสมบูรณ์แบบ เพื่อให้มีอำนาจในการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ เพื่อความคล่องตัวในการบริหารจัดการ โดยเป็นผู้เสนอจัดตั้งและจัดสรรงบประมาณในการจัดการศึกษาให้ตรงกับความต้องการและสภาพจริง



P
P

2

ให้ส่วนกลางดำเนินการตามกฎหมายที่เน้นการกระจายอำนาจอย่างจริงจัง เช่น พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ มาตรา 39 ให้กระทรวงกระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษา ทั้งด้านวิชากร งบประมาณ การบริหารงานบุคคล และการบริหารทั่วไป พ.ร.บ.ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ.2547 ที่กำหนดให้ อ.ก.ค.ศ.เขตพื้นที่การศึกษาเป็นผู้ดำเนินการสอบแข่งขันเพื่อบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้ารับราชการนั้น ต้องกระจายอำนาจให้เขตพื้นที่การศึกษาบริหารจัดการเอง





P
1

โครงการพิเศษจากส่วนกลางควรมีจำนวนน้อยลง โดย ร.ร. มีอำนาจและดุลพินิจในการตัดสินใจเข้าร่วม


P



1

ผู้อำนวยการ ร.ร. มีอำนาจและดุลยพินิจในการเข้าร่วมโครงการ กิจกรรมจากหน่วยงานต่างๆ เพื่อให้เหมาะสมสอดคล้องกับการปฏิรูปการเรียนรู้สู่ผู้เรียน


P



1

 ร.ร. นิติบุคคล 3 รูปแบบ (1)  ร.ร.ขนาดเล็กให้มีระบบบริหารแบบ Cluster และยกระดับกลุ่ม ร.ร. เป็นนิติบุคคล (2)  ร.ร.ขนาดกลาง (3)  ร.ร.ขนาดใหญ่ (นิติบุคคลแบบเดี่ยว)


P



1
---------------------------------------